ขนมเย่ว์ปิ่งตำนานขนมไหว้พระจันทร์ ขนมไหว้พระจันทร์ เป็นขนมที่มีต้นตำรั การแปล - ขนมเย่ว์ปิ่งตำนานขนมไหว้พระจันทร์ ขนมไหว้พระจันทร์ เป็นขนมที่มีต้นตำรั ไทย วิธีการพูด

ขนมเย่ว์ปิ่งตำนานขนมไหว้พระจันทร์ ข

ขนมเย่ว์ปิ่ง
ตำนานขนมไหว้พระจันทร์ ขนมไหว้พระจันทร์ เป็นขนมที่มีต้นตำรับมาจากประเทศจีน ชื่อที่เรียกในภาษาจีนกลางคือ “เยว่ปิ่ง” “เยว่” หมายถึง พระจันทร์ และ “ปิ่ง” หมายถึง ขนมเปี๊ยะ ซึ่งเป็นสัญลักษณ์แห่งความเป็นสิริมงคล ความปรารถนาดี และความสามัคคี เพราะในเทศกาลนี้ทุกคนในครอบครัวจะอยู่พร้อมหน้าพร้อมตา นั่งกินขนมชมพระจันทร์ไปด้วยกัน



แต่เดิม ขนมไหว้พระจันทร์ มีชื่อเรียกว่า “หูปิ่ง” หมายถึง ขนมเปี๊ยะวอลนัท เป็นขนมอบของจีนทำจากงาและวอลนัท ภายหลังเปลี่ยนเป็น “เยว่ปิ่ง” ซึ่งสาเหตุของการเปลี่ยนชื่อนั้นมีเรื่องเล่าว่า ในคืนวันไหว้พระจันทร์ปีหนึ่ง ถังเสวียนจงฮ่องเต้ปรารภออกมาว่า ชื่อ “หูปิ่ง” ไม่ไพเราะ ขณะนั้นหยางกุ้ยเฟย ซึ่งเป็นหนึ่งในสี่อัครมเหสีของพระองค์ ได้นั่งชมจันทร์อยู่เคียงข้างพระองค์ก็เปรยขึ้นมาว่า “เยว่ปิ่ง” ซึ่งหมายถึง ขนมเปี๊ยะพระจันทร์ ตั้งแต่นั้นจึงใช้ชื่อนี้เรียกแทน "หูปิ่ง" เรื่อยมา ตำนานขนมไหว้พระจันทร์นั้น ยังมีเรื่องเล่าสืบต่อกันมา ซึ่งเกี่ยวข้องกับการกู้ชาติของชนชาติจีนด้วย เล่าว่า ราว 700 ปีก่อน ชาวมองโกลโดยการนำของกุบไลข่าน ได้รุกรานเข้าแผ่นดินจีน สามารถโค่นล้มและยึดครองประเทศจีนได้สำเร็จ และขึ้นปกครองประเทศจีนเป็นระยะเวลากว่า 80 ปี จนถึงช่วงที่ราชสำนักอ่อนแอ มีชาวจีนหลายกลุ่มคิดก่อการกบฎเพื่อกอบกู้แผ่นดินกลับคืนมา แต่การจะเรียกระดมพลนั้นกระทำได้ยาก จึงมีผู้คิดแผนการรวบรวมพลให้ก่อการขึ้นพร้อมกัน เนื่องจากชาวมองโกลไม่นิยมกิน ขนมเปี๊ยะพระจันทร์ จึงอาศัยโอกาสนี้ทำขนมเปี๊ยะพระจันทร์ที่มีไส้หนา แล้วสอดไส้กระดาษที่เขียนข้อความไว้ว่า “15 ค่ำเดือน 8 สังหารมองโกล” แล้วนำออกแจกจ่ายให้กับชาวจีนทั้งหลาย เมื่อถึงคืน 15 ค่ำ เดือน 8 กลุ่มชาวจีนทั้งหลายก็ลงมือก่อการโดยพร้อมเพรียงกัน และสามารถโค่นล้มมองโกลลงได้ นับจากนั้นเทศกาลวันไหว้พระจันทร์ที่มีการไหว้ขนมเปี๊ยะพระจันทร์จึงเป็นงานฉลองระดับชาติ เพื่อระลึกถึงเหตุการณ์ในครั้งนั้น ส่วนในประเทศไทยเรียกชื่อขนมนี้ว่า “ขนมไหว้พระจันทร์” ตามตำนานที่เล่าสืบต่อกันมานี้

ขนมไหว้พระจันทร์ในประเทศไทย ในประเทศไทย ศิลปะการทำขนมแบบชาวจีนนี้ถูกนำเข้ามาโดยชาวจีนอพยพกว่า 100 ปีมาแล้ว ขนมไหว้พระจันทร์ของจีนดั้งเดิมนั้นมีส่วนประกอบ เช่น ถั่วแดง ถั่วจีน5ชนิด เม็ดบัว เป็นต้น ในประเทศไทยก็มีส่วนประกอบที่แตกต่างออกไป เช่น การนำผลไม้ที่เป็นที่นิยมอย่างทุเรียนมากวนแล้วทำเป็นไส้ขนม หรือใส่วัตถุดิบอื่นๆเพิ่มเติม เช่น ไข่แดงเค็ม และเมล็ดแตงโมเป็นต้น และในปัจจุบันก็มีภัตตาคารร้านอาหารจีนมากมายที่คิดค้นและพัฒนาสูตรของไส้รูปแบบใหม่ หลากหลายรสชาติเลยทีเดียว
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ขนมเย่ว์ปิ่งตำนานขนมไหว้พระจันทร์ขนมไหว้พระจันทร์เป็นขนมที่มีต้นตำรับมาจากประเทศจีนชื่อที่เรียกในภาษาจีนกลางคือ "เยว่ปิ่ง" "เยว่" หมายถึงพระจันทร์และ "ปิ่ง" หมายถึงขนมเปี๊ยะ ซึ่งเป็นสัญลักษณ์แห่งความเป็นสิริมงคลความปรารถนาดีและความสามัคคีเพราะในเทศกาลนี้ทุกคนในครอบครัวจะอยู่พร้อมหน้าพร้อมตานั่งกินขนมชมพระจันทร์ไปด้วยกัน แต่เดิมขนมไหว้พระจันทร์มีชื่อเรียกว่า "หูปิ่ง" หมายถึงขนมเปี๊ยะวอลนัทเป็นขนมอบของจีนทำจากงาและวอลนัทภายหลังเปลี่ยนเป็น "เยว่ปิ่ง" ซึ่งสาเหตุของการเปลี่ยนชื่อนั้นมีเรื่องเล่าว่าในคืนวันไหว้พระจันทร์ปีหนึ่งถังเสวียนจงฮ่องเต้ปรารภออกมาว่าชื่อ "หูปิ่ง" ไม่ไพเราะขณะนั้นหยางกุ้ยเฟย ซึ่งเป็นหนึ่งในสี่อัครมเหสีของพระองค์ได้นั่งชมจันทร์อยู่เคียงข้างพระองค์ก็เปรยขึ้นมาว่า "เยว่ปิ่ง" ซึ่งหมายถึงขนมเปี๊ยะพระจันทร์ตั้งแต่นั้นจึงใช้ชื่อนี้เรียกแทน "หูปิ่ง" เรื่อยมาตำนานขนมไหว้พระจันทร์นั้นยังมีเรื่องเล่าสืบต่อกันมาซึ่งเกี่ยวข้องกับการกู้ชาติของชนชาติจีนด้วยเล่าว่าราว 700 ปีก่อนชาวมองโกลโดยการนำของกุบไลข่าน จนถึงช่วงที่ราชสำนักอ่อนแอได้รุกรานเข้าแผ่นดินจีนสามารถโค่นล้มและยึดครองประเทศจีนได้สำเร็จและขึ้นปกครองประเทศจีนเป็นระยะเวลากว่า 80 ปี มีชาวจีนหลายกลุ่มคิดก่อการกบฎเพื่อกอบกู้แผ่นดินกลับคืนมาแต่การจะเรียกระดมพลนั้นกระทำได้ยากจึงมีผู้คิดแผนการรวบรวมพลให้ก่อการขึ้นพร้อมกันเนื่องจากชาวมองโกลไม่นิยมกิน แล้วนำออกแจกจ่ายให้กับชาวจีนทั้งหลายขนมเปี๊ยะพระจันทร์จึงอาศัยโอกาสนี้ทำขนมเปี๊ยะพระจันทร์ที่มีไส้หนาแล้วสอดไส้กระดาษที่เขียนข้อความไว้ว่า "สังหารมองโกลค่ำเดือน 8 15" เมื่อถึงคืน 15 ค่ำเดือน 8 กลุ่มชาวจีนทั้งหลายก็ลงมือก่อการโดยพร้อมเพรียงกันและสามารถโค่นล้มมองโกลลงได้ นับจากนั้นเทศกาลวันไหว้พระจันทร์ที่มีการไหว้ขนมเปี๊ยะพระจันทร์จึงเป็นงานฉลองระดับชาติเพื่อระลึกถึงเหตุการณ์ในครั้งนั้นส่วนในประเทศไทยเรียกชื่อขนมนี้ว่า" ตามตำนานที่เล่าสืบต่อกันมานี้ขนมไหว้พระจันทร์" ขนมไหว้พระจันทร์ในประเทศไทยในประเทศไทยศิลปะการทำขนมแบบชาวจีนนี้ถูกนำเข้ามาโดยชาวจีนอพยพกว่า 100 ปีมาแล้วขนมไหว้พระจันทร์ของจีนดั้งเดิมนั้นมีส่วนประกอบเช่นถั่วแดง ถั่วจีน5ชนิด เม็ดบัวเป็นต้นในประเทศไทยก็มีส่วนประกอบที่แตกต่างออกไปเช่นการนำผลไม้ที่เป็นที่นิยมอย่างทุเรียนมากวนแล้วทำเป็นไส้ขนมหรือใส่วัตถุดิบอื่นๆเพิ่มเติมเช่น ไข่แดงเค็มและเมล็ดแตงโมเป็นต้นและในปัจจุบันก็มีภัตตาคารร้านอาหารจีนมากมายที่คิดค้นและพัฒนาสูตรของไส้รูปแบบใหม่หลากหลายรสชาติเลยทีเดียว
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
ขนมเย่ว์ปิ่งตำนานขนมไหว้พระจันทร์ขนมไหว้พระจันทร์ขนมเป็นที่มีต้นตำรับมาจากเนชั่ประเทศจีนในชื่อที่เรียกเอไอเอสมารีนการจราจรจีนกลางคือ "เยว่ปิ่ง" "เยว่" หมายถึงพระจันทร์และ "ปิ่ง" หมายถึงขนมเปี๊ยะ ซึ่งสัญลักษณ์แห่งความเป็นความเป็นสิริมงคลปรารถนาดีและความสามัคคีเพราะเทศกาลนี้ในทุกคนจะขณะนี้ในครอบครัวพร้อมหน้าพร้อมตานั่งกินขนมชมพระจันทร์ไปด้วยกัน แต่เดิมขนมไหว้พระจันทร์ว่าได้มีชื่อเรียก "หูปิ่ง" หมายถึงขนมเปี๊ยะ วอลนัทเป็นขนมอบของจีนทำจากงาและวอลนัทภายหลังเปลี่ยนเป็น "เยว่ปิ่ง" ซึ่งสาเหตุของการเปลี่ยนชื่อนั้นมีเรื่องเล่าว่าในคืนวันไหว้พระจันทร์ปีหนึ่งถังเสวียนจงฮ่องเต้ปรารภออกมา ว่าชื่อ "หูปิ่ง" ไม่ไพเราะขณะนั้นหยางกุ้ยเฟยซึ่งเป็นหนึ่งในสี่อัครมเหสีของพระองค์ได้นั่งชมจันทร์อยู่เคียงข้างพระองค์ก็เปรยขึ้นมาว่า "เยว่ปิ่ง" ซึ่งหมายถึงขนมเปี๊ยะพระจันทร์ตั้งแต่นั้น จึงใช้ชื่อนี้เรียกแทน "หูปิ่ง" เรื่อยมาตำนานขนมไหว้พระจันทร์นั้นยังมีเรื่องเล่าสืบต่อกันมาซึ่งเกี่ยวข้องกับการกู้ชาติของชนชาติจีนด้วยเล่าว่าราว 700 ปีก่อนชาวมองโกลโดยการนำของกุบไล ข่านได้รุกรานเข้าแผ่นดินจีนสามารถโค่นล้มและยึดครองประเทศจีนได้สำเร็จและขึ้นปกครองประเทศจีนเป็นระยะเวลากว่า 80 ปีจนถึงช่วงที่ราชสำนักอ่อนแอมีชาวจีนหลายกลุ่มคิดก่อการกบฎเพื่อกอบกู้แผ่นดินกลับคืนมา แต่การจะเรียก ระดมพลนั้นกระทำได้ยากจึงมีผู้คิดแผนการรวบรวมพลให้ก่อการขึ้นพร้อมกันเนื่องจากชาวมองโกลไม่นิยมกินขนมเปี๊ยะพระจันทร์จึงอาศัยโอกาสนี้ทำขนมเปี๊ยะพระจันทร์ที่มีไส้หนาแล้วสอดไส้กระดาษที่เขียนข้อความไว้ว่า "15 ค่ำเดือน 8 สังหารมองโกล "แล้วนำออกแจกจ่ายให้กับชาวจีนทั้งหลายเมื่อถึงคืนวันที่ 15 ค่ำเดือน 8 กลุ่มชาวจีนทั้งหลายก็ลงมือก่อการโดยพร้อมเพรียงกันและสามารถโค่นล้มมองโกลลงได้นับจากนั้นเทศกาลวันไหว้พระจันทร์ที่มีการไหว้ขนมเปี๊ยะพระจันทร์จึง เป็นงานฉลองระดับชาติเพื่อระลึกถึงเหตุการณ์นั้นส่วนในครั้งชื่อในประเทศไทยเรียกขนมนี้ว่า "ขนมไหว้พระจันทร์" ตามตำนานเล่าสืบต่อกันมาที่นี้ขนมไหว้พระจันทร์ในประเทศไทยในประเทศไทยศิลปะชาวจีนหัวเรื่อง: การทำแบบนี้ถูกขนม นำเข้ามาโดยชาวจีนอพยพกว่า 100 ปีมาแล้วขนมไหว้พระจันทร์ของจีนดั้งเดิมนั้นมีส่วนประกอบเช่นถั่วแดงถั่วจีน 5 ชนิดเม็ดบัวเป็นต้นในประเทศไทยก็มีส่วนประกอบที่แตกต่างออกไปเช่นการนำผลไม้ที่เป็นที่นิยมอย่าง ทุเรียนมากวนแล้วทำเป็นไส้ขนมหรือใส่วัตถุดิบอื่น ๆ เพิ่มเติมเช่นไข่แดงเค็มและเมล็ดแตงโมเป็นต้นและในปัจจุบันก็มีภัตตาคารร้านอาหารจีนมากมายที่คิดค้นและพัฒนาสูตรของไส้รูปแบบใหม่หลากหลายรสชาติเลยทีเดียว







การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
宾、
糖果传说,月饼,月饼作为甜点的配方来自中国。中文名字叫“宾乐”,“乐”指的是月亮,“宾”是指เปี๊糖果,象征好运。与和谐。因为在这个季节,全家人会在一起坐在一起赏月吃!


月饼最初是所谓的“宾耳”是指中国的饺子烘烤核桃芝麻和核桃,后来改为“宾曰”,改名的原因。有一个故事唐玄宗皇帝的名字“耳提出来宾。当时,四分之一的杨贵妃后.你坐在月光突然说,“宾曰”。从此,这个名字代表“耳朵”。传说,月饼,梁冰。它也是一个故事。有关中国民族拯救这个国家前说故事领导700蒙古忽必烈颠覆和占领中国可以成功期,80年统治中国。弱至法院中国集团密谋叛国罪地抢救回来。因此,有人把起义计划同时收集由于不喜欢吃饺子,蒙古族的月亮因此,借此机会做饺子馅厚的月亮。然后把纸写“月8 15晚餐。然后他们将分发给在中国8 15月夜晚餐。他们在中国进行中的一致。蒙古,推翻了为了纪念那次事件在泰国,这种糖果,叫“月饼”,相传它来?

月饼在制作艺术泰国小吃是中国进口100年前中国迁徙。中国传统的月饼,如豆沙成分莲子,中国5种豆。进口水果如榴莲会假装流行点心馅。其他材料,如把咸蛋黄,西瓜种子等。多种口味。
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: